THE ULTIMATE GUIDE TO เศรษฐกิจโลก 1000 ปี

The Ultimate Guide To เศรษฐกิจโลก 1000 ปี

The Ultimate Guide To เศรษฐกิจโลก 1000 ปี

Blog Article

ลักษณะของความขัดแย้งทางอุดมการณ์และพรมแดนเชิงกายภาพที่แบ่งทวีปยุโรปออกเป็นสองฝั่ง ฝั่งทุนนิยมเสรีและฝั่งคอมมิวนิสต์ ฝั่งทุนนิยมเสรี นำโดยสหรัฐอเมริกาอยู่ภายใต้การปกครองหลายระบอบส่วนใหญ่คือระบอบประชาธิปไตย มีการดำเนินเศรษฐกิจแบบเสรีซึ่งให้เสรีแก่ภาคเอกชนในการเลือกดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินสามารถเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและทรัพย์สินต่างๆที่ตนหามาได้ ซึ่งประเทศในยุโรปตะวันตกล้วนดำเนินการระบบเศรษฐกิจในรูปแบบนี้ภายใต้การช่วยเหลือทางการเงินของสหรัฐอเมริกา

This Internet site works by using cookies. Make sure you take our cookie coverage for your best knowledge. You could find out more regarding how to adjust your cookie setting in our cookie policy here

รู้สึกว่าเป็นอีกหนังสือนึง ที่สรุปเรื่องราวปะติดปะต่อกันได้ดีเลยทีเดียว อ่านแล้วน่าติดตาม มีการทิ้งปมในแต่ละตอน เปรียบเสมือนโซ่ที่นำมาต่อกันในแต่ละตอน สำหรับเก่งคิดว่าหนังสือเล่มนี้เป็นตัวสรุปในวิชาประวัติศาสตร์ ที่เราเรียนมากันตั้งแต่มัธยม แต่ไม่ได้ถึงขั้นละเอียดลงลึกถ้าวิชาประวัติศาสตร์ที่เราเรียนกันมากนัก แต่อย่างน้อยสามารถ ทำให้เราเข้าใจประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจของโลกมากยิ่งขึ้น ว่ามันเป็นไปเป็นมาอย่างไร อะไรเกิดขึ้นก่อน และอะไรที่ส่งผลกระทบตามมา

จักรวรรดิจีนระส่ำระสายอย่างหนักสถานการณ์ของจักรวรรดิรัสเซียก็ไม่ต่างอะไรกับจีนมากนัก เมื่อการล่าอาณานิคมดำเนินมาถึงจุดสูงสุดความขัดแย้งระหว่างจักรวรรดิหน้าใหม่กับจักรวรรดิเดิมเริ่มรุนแรงขึ้น ท้ายที่สุด อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ได้รวมกันตั้งกลุ่มสัญญาไตรภาคี ส่วนจักรวรรดิเยอรมันได้ดึงประเทศเพื่อนบ้านอย่างจักรวรรดิออสเตรียฮังการี และอิตาลี ร่วมตั้งกลุ่มเป็นสัญญาไตรพันธมิตร เพื่อต่อต้านทั้งสองฝ่าย ต่างสั่งสมอาวุธและกำลังและแสนยานุภาพทางทหารเพื่อรอวันที่ความขัดแย้งจะถูกจุดชนวน และในสุดท้ายก็บานปลายกลายเป็นสงครามที่ใหญ่ที่สุดอย่างที่โลกไม่เคยเจอมาก่อน

อ่านง่าย เศรษฐกิจโลก 1000 ปี ได้ความรู้ สรุปดี เหมาะสำหรับคนที่ไม่มีพื้นฐานปวศกกเศรษฐกิจโลก

ฝั่งคอมมิวนิสต์นำโดยสหภาพโซเวียต เป็นระบบที่อยู่ภายใต้การปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ มีเศรษฐกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของทรัพยากรต่างๆและปัจจัยการผลิตทุกชนิด เอกชนไม่มีกรรมสิทธิ์และเสรีที่จะเลือกใช้ปัจจัยการผลิตได้รัฐบาลเป็นผู้ประกอบการและจะทำหน้าที่ในการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ

การแนะนำหนังสือและเขียนข่าวเผยแพร่บนเว็บไซต์

ในช่วงหลายร้อยหลายพันปีที่ผ่านมานั้น มีขั้วอำนาจผลัดกันขึ้นมาเป็นใหญ่ และสุดท้ายก็ร่วงโรยไป ไม่มีอะไรที่จะแน่นอน ไม่ว่าจักรวรรดิหรือประเทศนั้น จะเคยยิ่งใหญ่สักแค่ไหน สุดท้ายก็จะแพ้ภัยตัวเอง หรือภัยสงคราม

สงครามครั้งนี้ ทำให้ยุโรปมมีการจัดระเบียบใหม่ กำเนิดประเทศต่างๆ ส่วนการหมดอำนาจของประเทศยิ่งใหญ่ เช่น สเปน ก็ทำให้อาณานิคมในทวีปอเมริกาใต้ทำสงครามประกาศเอกราช ก่อตั้งประเทศเช่น เม็กซิโก เวเนซุเอล่า เปรู โบลิเวีย

ประเทศในตะวันออกกลางมีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวอาหรับที่นับถืออิสลาม และกำลังไม่พอใจกับการมีอยู่ของ อิสราเอล ประเทศเกิดใหม่ชาวยิว ที่มีหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งดันไปตั้งอยู่ท่ามกลางประเทศอาหรับเหล่านั้น

ดังนั้นสิ่งที่ได้จากหนังสือ คือความเพลิดเพลิน ได้ทบทวนเรื่องราวในหัว ในระดับหัวข้อใหญ่ๆ ไม่ใช่เรื่องของมันจริงๆ หนังสือนี้น่าจะเหมาะกับคนที่ต้องการทราบแค่หัวข้อ ไม่เหมาะสำหรับคนที่ต้องการเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพราะหนังสือไม่ได้ออกแบบมาให้ทำหน้าที่นั้นเลย

การขยายตัวการค้า เกิดชนชั้นใหม่คือ ชนชั้นพ่อค้า ซึ่งเป็นสื่อกลางในการนำสินค้าแปลกใหม่ของตะวันออกมาให้ชาวยุโรป ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่ นครเวนิส

ทำไมเนเธอแลนด์จึงเจริญอยู่ช่วงหนึ่ง ทั้งๆตอนแรกมีแต่ชาวโปรตุเกสและสเปนแข่งกัน?

บางอย่างเคยสงสัยสมัยเด็ก แต่เพิ่งได้คำตอบ เช่น

Report this page